TIME is Total Industrial Engineering Management. Sawang is Teacher name. Master of Industrial Engineering Management KMUTNB, Master in Management TUP, Bs. Industrial Engineering RMUTT, Bs.Technical Education (Industrial Engineering) RMUT.
วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
การวางแผนและควบคุมการผลิต ครั้งที่6-7 เรื่องแผนการผลิตรวม 1
การวางแผนและควบคุมการผลิต ครั้งที่ 6
การวางแผนความต้องการวัสดุ PPC -MRP
Pretest PPC 6
จากการบ้าน PPC 5 MRP
จงนำ BOM มาเขียน MRP ตามฟอร์มด้านล่างให้ถูกต้อง
ใช้ตารางแบบนี้ทำมาส่ง
copy จาก ตารางwordด้านล่างนี้
เลขชิ้นงาน
เวลานำ
คงคลัง
SafetyStock
Allocted
รายการ
สัปดาห์ที่
1
2
3
4
5
6
7
8
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
เลขชิ้นงาน
เวลานำ
คงคลัง
SafetyStock
Allocted
รายการ
สัปดาห์ที่
1
2
3
4
5
6
7
8
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
เฉลยการบ้าน PPC 5 MRP
จงทำแบบฝึกหัดข้อ 3 และนำแบบงานที่ทำมาส่งเขียน BOM มาส่งให้ถูกต้อง
5. โรงงานประกอบพัดลมไฟฟ้า ได้รับใบสั่งซื้อจากลูกค้าจำนวน 80 เครื่องในต้นสัปดาห์ที่ 6 และอีก 100 เครื่องในต้นสัปดาห์ที่ 8 โดยมีรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ดังนี้
ก. จงเขียน Bill of Material
ข. จงสร้างและเติมตัวเลขใน MRP ให้ถูกต้องสมบูรณ์
Item
Item Description
Quantity
Lead Time
On
Safety
Allocated
จำนวนที่ได้รับ
ID
(Week)
Hand
Stock
ตามกำหนด
N
20” Fan
1
40
0
0
O
Housing
1
1
40
5
0
20 อันต้นสัปดาห์ 2
P
Grill
2
3
100
50
0
Q
Fan Assembly
1
1
20
5
0
R
Electrical
1
1
20
15
0
Housing
S
Frame
1
2
50
20
10
T
Support
2
1
100
20
40
U
Handle
1
1
50
10
0
30 อันต้นสัปดาห์ 3
Fan Assembly
V
Hub
1
2
50
10
0
W
Blade
5
2
100
20
0
Electrical
X
Motor
1
1
30
0
0
20 อันต้นสัปดาห์ 5
Y
Switch
1
1
40
0
0
25 อันต้นสัปดาห์ 6
Z
Knob
1
1
40
0
0
ใช้ตารางแบบนี้ทำมาส่ง
copy จาก ตารางwordด้านล่างนี้
เลขชิ้นงาน
เวลานำ
คงคลัง
SafetyStock
Allocted
รายการ
สัปดาห์ที่
1
2
3
4
5
6
7
8
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
Item
Item Description
Quantity
Lead Time
On
Safety
Allocated
จำนวนที่ได้รับ
ID
(Week)
Hand
Stock
ตามกำหนด
N
1
40
0
0
O
Housing
1
1
40
5
0
20 อันต้นสัปดาห์ 2
P
Grill
2
3
100
50
0
Q
Fan Assembly
1
1
20
5
0
R
Electrical
1
1
20
15
0
Housing
S
Frame
1
2
50
20
10
T
Support
2
1
100
20
40
U
Handle
1
1
50
10
0
30 อันต้นสัปดาห์ 3
Fan Assembly
V
Hub
1
2
50
10
0
W
Blade
5
2
100
20
0
Electrical
X
Motor
1
1
30
0
0
20 อันต้นสัปดาห์ 5
Y
Switch
1
1
40
0
0
25 อันต้นสัปดาห์ 6
Z
Knob
1
1
40
0
0
เลขชิ้นงาน
เวลานำ
คงคลัง
SafetyStock
Allocted
รายการ
สัปดาห์ที่
1
2
3
4
5
6
7
8
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
ความต้องการข้างต้น
จำนวนที่ได้รับ
ปริมาณที่นำไปใช้
ความต้องการสุทธิ
แผนกำหนดการรับของ
แผนกำหนดการสั่งของ
การวางแผนและควบคุมการผลิต ครั้งที่7
เรื่องแผนการผลิตรวม 1
ครั้งก่อนเรียน MRP เป็นการวางแผนสำหรับวัสดุ หรือ M- material หัวข้อนี้จะวางแผนกำลังคน หรือ M-Man ต่อจากนั้นหลังสอบกลางภาคจะวางแผนและควบคุม M ตัวอื่นๆต่อไป
การบ้านPPC6
1. ผู้จัดการบริษัทผลิตเครื่องเล่นวีดีโอเทปแห่งหนึ่งต้องการวางแผนการผลิตรวมสำหรับการผลิตใน 6 เดือนสุดท้ายของปี พ.ศ. 2545 โดยใช้ข้อมูลจากการพยากรณ์ความต้องการสินค้าดังแสดงในตาราง
เดือน
|
ก.ค.
|
ส.ค.
|
ก.ย.
|
ต.ค.
|
พ.ย.
|
ธ.ค.
|
รวม
|
ความต้องการสินค้า (เครื่อง)
|
400
|
500
|
550
|
700
|
800
|
700
|
3,650
|
ข้อมูลต้นทุน
- ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา 360 บาท/เครื่อง/คน
- ค่าแรงปกติ 200 บาท/ชั่วโมง/คน
- ค่าแรงล่วงเวลา 300 บาท/ชั่วโมง (เมื่อคนงานทำงานเกิน 8 ชั่วโมง/วัน)
- ค่าจ้างเหมา 3,600 บาท/เครื่อง
- ค่าจ้างคนงานเพิ่ม 1,500 บาท/คน
- ค่าจ้างปลดคนงานออก 3,000 บาท/คน
ข้อมูลอื่น ๆ
- จำนวนคนงาน 8 คน
- การทำงานล่วงเวลา ไม่เกิน 2 ชั่วโมงต่อวัน
- เวลาที่ใช้ในการผลิต 4 ชั่วโมง/เครื่อง/คน
- เวลาทำงาน 20 วัน/เดือน
- สินค้าคงคลังเริ่มต้นเดือนกรกฎาคม 150 เครื่อง
จงวางแผนการผลิตรวมโดยใช้กลยุทธ์ “ผลิตด้วยอัตราคงที่” และให้มีการทำงานล่วงเวลาและการจ้างเหมาได้
(เฉลย ผลิตปกติ เดือน ก.ค. ถึง ธ.ค. เดือนละ 320 หน่วย ผลิตล่วงเวลาเดือนละ 80 หน่วยในเดือน ส.ค. ถึง ธ.ค. จ้างเหมา 150 หน่วยในเดือน ก.ย. 300 หน่วยในเดือน ต.ค. และ ธ.ค. และ 400 หน่วยในเดือน พ.ย. ต้นทุนการผลิตรวม 6,315,200 บาท)
2. ผู้จัดการบริษัทแห่งหนึ่งต้องการวางแผนการผลิตรวมสำหรับการผลิตในปีหน้าโดยใช้ข้อมูลจากการพยากรณ์ความต้องการสินค้าดังแสดงในตาราง
เดือน
|
1
|
2
|
3
|
4
|
5
|
6
|
รวม
|
ความต้องการสินค้า
|
700
|
300
|
800
|
600
|
250
|
200
|
2,850
|
ฝ่ายผลิตมีคนงานทั้งหมด 20 คน แต่ละคนมีความสามารถผลิตได้ 25 หน่วยต่อช่วงเวลาต้นทุนแรงงานปกติ 50 บาทต่อหน่วย ต้นทุนแรงงานล่วงเวลา 65 บาทต่อหน่วย ต้นทุนจ้างเหมา 80 บาทต่อหน่วย ต้นทุนเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 10 บาทต่อหน่วยต่อระดับสินค้าคงคลังเฉลี่ย ต้นทุนการเสียโอกาส 80 บาทต่อหน่วย ผู้จัดการต้องการวางแผนการผลิตรวมโดยใช้กลยุทธ์อัตราการผลิตคงที่ โดยต้นเดือนที่ 1 ปริมาณสินค้าคงคลังเป็น 200 หน่วย และเมื่อต้นเดือนที่ 4 จะมีการจ้างคนงานเพิ่ม 3 คน ปลดออก 1 คน โดยคิดค่าใช้จ่ายในการจ้างคนงาน 1,000 บาทต่อคนต่อครั้ง ค่าใช้จ่ายในการปลดคนงาน 2,000 บาทต่อคนต่อครั้ง จงวางแผนการผลิตรวมและคำนวณต้นทุนการผลิต
(เฉลย ผลิตปกติ เดือน 1 ถึง 3 เดือนละ 500 หน่วย เดือนที่ 4 ถึง 6 ผลิตเดือนละ 550 หน่วย ต้นทุนการผลิตรวม 188,500 บาท)
เดือน
|
1
|
2
|
3
|
4
|
5
|
6
|
รวม
|
ความต้องการสินค้า
| |||||||
1. ผลผลิต [ ชิ้น (Unit)]
- ปกติ
- ล่วงเวลา
- จ้างเหมา
| |||||||
ผลผลิต-ความต้องการ
| |||||||
2. สินค้าคงคลัง
- สินค้าคงคลังต้นงวด
- สินค้าคงคลังปลายงวด
- เฉลี่ย [(BI+EI)/ 2]
| |||||||
3. ต้นทุน
3.1 ต้นทุนแรงงาน
- ปกติ
- ล่วงเวลา
- จ้างเหมา
3.2 ต้นทุนจ้างเข้า
3.3 ต้นทุนจ้างออก
| |||||||
รวม
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)