วิศวกรรมงานเชื่อม ครั้งที่ 6
บทที่4 อิทธิพลความร้อนที่มีผลต่องานเชื่อม
ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนโดยตอบคำถาม และบอกเลขหน้าที่มีคำตอบมาส่งในการเรียนวันที่ 24 กพ 2559
ในวันนี้ชั่งโมงการปฎิบัติ กลุ่มเชื่อมไฟฟ้าให้ลงเชื่อมต่อชนท่าราบบากร่องวี 60-70องศา Root gap และ root face 2 -3 มม.
แบบทดสอบก่อนเรียน
1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติเนื่องจากการเชื่อมโลหะชนิดใดเกิดการเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด
ก. เหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ
ข. เหล็กกล้าคาร์บอนสูง
ค. เหล็กกล้าผสมต่ำ
ง. เหล็กกล้าผสมสูง
2. การเชื่อมเหล็กกล้าที่มีความสามารถในการชุบแข็งสูงเมื่อเย็นตัวเร็วจะทำให้บริเวณ HAZ เกิดโครงสร้างใด
ก. ออสเทนไนท์
ข. เฟอร์ไรท์
ค. เบนไนท์
ง. มาร์เทนไซท์
3. ธาตุผสมในเหล็กกล้าใดมีผลโดยตรงต่อค่าคาร์บอนสมมูลมากที่สุด
ก. C ข. Mn
ค. Ni ง. Mo
4. การป้องกัรการแตกร้าวในการเชื่อมเหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง และเหล็กกล้าคาร์บอนสูง กระทำได้โดย
ก. ใช้ลวดเชื่อมขนาดเล็ก
ข. ใช้กระแสเชื่อมสูง
ค. Preheat งานและให้เย็นตัวช้า
ง. ใช้ความเร็วเชื่อมสูง ๆ
5. การคลายความเค้นตกค้างในงานเชื่อม ด้วยความร้อน กระทำในขั้นตอนใดของการเชื่อม
ก. ก่อนเชื่อม
ข. ขณะเชื่อม
ค. หลังเชื่อม
ง. ถูกทุกข้อ
6. การคลายความเค้นตกค้างโดยการให้ความร้อน เพื่อจุดประสงค์ในข้อใด
ก. ลดความเค้นตกค้าง
ข. ลดความแข็งที่ HAZ
ค. กำจัดไฮโดรเจนในแนวเชื่อม
ง. ถูกทุกข้อ
7. เมื่อเปรียบเทียบกัน Heat Efficiency ของกระบวนการเชื่อมใดมีค่าสูงสุด
ก. เชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
ข. มิก/แม็ก
ค. ใต้ฟลักซ์
ง. ทิก
8. อัตราการเย็นตัวของงานเชื่อมขึ้นอยู่กับองค์ประกอบอะไรบ้าง
ก. Heat Input
ข. ความหนางาน
ค. อุณหภูมิ Preheat
ง. ถูกทุกข้อ
9. ในบริเวณกระทบร้อย (HAZ) บริเวณที่ เกิดเกรนโตอยู่ตรงส่วนใด
ก. กลางแนวเชื่อม
ข. ขอบแนวเชื่อมติดกับงาน
ค. บริเวณงานใกล้กับของแนวเชื่อม
ง. ส่วนที่เป็นออสเทนไนท์บางส่วน
10. โครงสร้างที่มีความแข็ง (Hardness) สูงที่สุดคือโครงสร้างใด
ก. ออสเทนไนท์
ข. มาร์เทนไซท์
ค. เพิลไลท์
ง. เฟอร์ไรท์
บทที่4 อิทธิพลความร้อนที่มีผลต่องานเชื่อม
ตอนที่ 2 จงทำเครื่องหมาย (x) ลงหน้าข้อที่ถูกที่สุด
1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติเนื่องจากการเชื่อมโลหะชนิดใดเกิดการเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด
ก. เหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ
ข. เหล็กกล้าคาร์บอนสูง
ค. เหล็กกล้าผสมต่ำ
ง. เหล็กกล้าผสมสูง
2. การเชื่อมเหล็กกล้าที่มีความสามารถในการชุบแข็งสูงเมื่อเย็นตัวเร็วจะทำให้บริเวณ HAZ เกิดโครงสร้างใด
ก. ออสเทนไนท์
ข. เฟอร์ไรท์
ค. เบนไนท์
ง. มาร์เทนไซท์
3. การเชื่อมเหล็กกล้าที่มีความสามารถในการชุบแข็งจะให้ความร้อนก่อนเชื่อม (Preheat) ที่อุณหภูมิในข้อใด
ก. 183° C
ข. 250° C
ค. 300° C
ง. เหนืออุณหภูมิ Ms
4. ขนาดของอุณหภูมิให้ความร้อนก่อนเชื่อมขึ้นอยู่กับค่าคาร์บอนสมมูล ค่าคาร์บอน สมมูลค่าใด ใช้อุณหภูมิอุ่นงานสูงที่สุด
ก. 0.4%
ข. 0.45 %
ค. 0.6 %
ง. 0.65 %
5. ธาตุผผสมในเหล็กกล้าธาตุใดมีผลโดยตรงต่อค่าคาร์บอนสมมูลมากที่สุด
ก. C
ข. Mn
ค. Ni
ง. Mo
6. การป้องกันการแตกร้าวในการเชื่อมเหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง และเหล็กกล้าคาร์บอนสูง กระทำได้โดย
ก. ใช้ลวดเชื่อมขนาดเล็ก
ข. ใช้กระแสเชื่อมสูง
ค. Preheat งานและให้เย็นตัวช้า
ง. ใช้ความเร็วเชื่อมสูง ๆ
7. การคลายความเค้นตกค้างในงานเชื่อม ด้วยความร้อน กระทำในขั้นตอนใดของการเชื่อม
ก. ก่อนเชื่อม ข. ขณะเชื่อม
ค. หลังเชื่อม ง. ถูกทุกข้อ
8. การคลายความเค้นตกค้างโดยการให้ความร้อน เพื่อจุดประสงค์ในข้อใด
ก. ลดความเค้นตกค้าง
ข. ลดความแข็งที่ HAZ
ค. กำจัดไฮโดรเจนในแนวเชื่อม
ง. ถูกทุกข้อ
9. การหาพลังงานไฟฟ้าสูตรข้อใดถูกต้อง
ก. กระแส X แรงดัน = พลังงาน
ข. กระแส X พลังงาน = แรงดัน
ค. กระแส X ความต้านทาน = พลังงาน
ง. ความต้านทาน X แรงดัน = ความร้อน
11. การเชื่อมด้วยกระแสไฟฟ้า 100 แอมป์ แรงดันอาร์ก 25 โวลต์ จะได้พลังงานความร้อนและแสงเท่าไร
ก. 250 Watt
ข. 2,500 Watt
ค. 500 Watt
ง. 5,000 Watt
12. เมื่อเปรียบเทียบกัน Heat Efficiency ของกระบวนการเชื่อมใดมีค่าสูงสุด
ก. เชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
ข. มิก/แม็ก
ค. ใต้ฟลักซ์
ง. ทิก
13. Energy Input สูงจะมีผลต่อองค์ประกอบอื่นคือข้อใด
ก. แนวเชื่อมเล็ก
ข. บริเวณกระทบร้อนแดง
ค. อัตราการเย็นตัวต่ำ
ง. ถูกทุกข้อ
14. อัตราการเย็นตัวของงานเชื่อมขึ้นอยู่กับองค์ประกอบอะไรบ้าง
ก. Heat Input
ข. ความหนางาน
ค. อุณหภูมิ Preheat
ง. ถูกทุกข้อ
15. การใช้กราฟหาอัตราเย็นตัว องศา C/S วัดที่อุณหภูมิเท่าไร
ก. 540° C
ข. 350° C
ค. 500° C
ง. 800° C
16. ในบริเวณกระทบร้อย (HAZ) บริเวณที่ เกิดเกรนโตอยู่ตรงส่วนใด
ก. กลางแนวเชื่อม
ข. ขอบแนวเชื่อมติดกับงาน
ค. บริเวณงานใกล้กับของแนวเชื่อม
ง. ส่วนที่เป็นออสเทนไนท์บางส่วน
17. โครงสร้างที่มีความแข็ง (Herdness) สูงที่สุดคือโครงสร้างใด
ก. ออสเทนไนท?
ข. มาร์เทนไซท์
ค. เพิลไลท์
ง. เฟอร์ไรท์
18. ในงานเชื่อม ส่วนมากการแตกหักจะเริ่มจากส่วนใด
ก. กลางแนวเชื่อม
ข. โลหะงาน
ค. บริเวณกระทบร้อน
ง. ถูกทุกข้อ
19. รอยขีดอาร์กที่ทำให้เกิดอันตรายหรือเกิดความเปราะกับงานเชื่อม เมื่อโลหะงานมีปริมาณคาร์บอนเท่าใด
ก. ต่ำกว่า 0.2%
ข. สูงกว่า 0.2%
ค. สูงกว่า 0.3%
ง. สูงกว่า 0.5%
20. การป้องกันไม่ให้เกิดโครงสร้างแข็ง (มาร์เทนไซท์) บนงานเชื่อม กระทำได้ด้วยวิธีใด
ก. Preheat งาน
ข. ใช้งานเย็นตัวเร็ว
ค. ใช้ลวดเชื่อมขนาดเล็ก
ง. ใช้ความเร็วเชื่อมสูง ๆ
21. การป้องการเกิดเกรนโต กระทำได้ดังนี้ คือข้อใด
ก. ส่ายแนวเชื่อมกว้าง
ข. ใช้ความเร็วเชื่อมช้า
ค. เชื่อมแนวเชื่อมเล็ก
ง. เชื่อมท่าตั้งขึ้น
22. ธาตุใดจะทำให้เกิดการแตกใน HAZ เมื่อมีปริมาณมาก
ก. อาร์กอน ข. ฮีเลียม
ค. อะลูมิเนียม ง. ไฮโดรเจน
23. การเติบโตของโครงสร้างออสเทนไนท์ของเนื้อเชื่อมมีลักษณะใด
ก. ก่อตัวจากใจกลางเนื้อเชื่อมเข้าหาขอบหลอมละลาย
ข. ก่อตัวจากขอบหลอมละลายเข้าสู่ใจกลางแนวเชื่อม
ค. ก่อตัวจาก HAZ เข้าหาขอบหลอมละลาย
ง. ก่อตัวจาก HAZ เข้าหาใจกลางแนวเชื่อม
24. การเชื่อมด้วยความเร็วเชื่อมสูงจะเกิดการแตกกลางแนวเชื่อมมีสาเหตุมาจากข้อใด
ก. การแข็งตัวของน้ำโลหะเริ่มจากขอบ แนวเชื่อมเข้าหากลางแนว
ข. กลางแนวเชื่อมแข็งตัวทีหลัง
ค. สารมลทินไปรวมตัวเป็นแนวอยู่กลางแนวเชื่อม
ง. ถูกทุกข้อ
25. การเชื่อมซ้อนแนวให้ Toughness ดีเนื่องจากสาเหตุใด
ก. Heat Input สูง
ข. เกิดการ Normalize
ค. อัตราการเย็นตัวสูง
ง. แนวเชื่อมเกรนโต
26. เหล็กกล้าชนิดใดมีความสามารถในการเชื่อมต่ำสุด
ก. เหล็กกล้า st 37
ข. เหล็กกล้า ss 400
ค. เหล็กกล้าท่อน้ำประปา
ง. เหล็กกล้าคาร์บอนสูง
27. สาเหตุใดที่ทำให้เกิดกี่แตกกลางของแนวเชื่อม เมื่อใช้กระแสเชื่อมและความเร็วเชื่อมสูง
ก. แนวเชื่อมเย็นตัวเร็ว
ข. ธาตุที่มีจุดหลอมต่ำรวมอยู่กลางแนวเชื่อม
ค. แนวเชื่อมโตเกินไป
ง. ถูกทุกข้อ
28. ข้อดีของการเชื่อมซ้อนแนวคือข้อใด
ก. ลดการเกิดเกรนโต
ข. ลดอัตราการเย็นตัวงานเชื่อม
ค. ลดความเค้นตกค้าง
ง. ถูกทุกข้อ
29. ธาตุใดที่ทำให้เหล็กกล้างานเชื่อมเกิดการแตกร้าวร้อน
ก. แมงกาสีส
ข. ซิลิกอน
ค. กำมะถัน
ง. อะลูมิเนียม
30. บริเวณใดของงานเชื่อมเกิดโครงสร้างออสเทนไนท์
สมบูรณ์ในขณะเชื่อม
ก. กลางแนวเชื่อม
ข. โลหะงานส่วนที่ติดกับเส้นหลอมละลาย
ค. HAZ
ง. ขอบเนื้อแนวเชื่อม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น